รู้เรื่อง ... ฟันของเรา |
ทุกคนคงต้องยอมรับว่า "ปาก" เป็นอวัยวะที่มีความสำคัญต่อทุกชีวิต ในช่องปากมีอวัยวะที่สำคัญ คือ เหงือก ลิ้น กระพุ้งแก้ม เพดาน และลำคอส่วนต้น ฟัน จัดเป็นอวัยวะที่แข็งแรงที่สุดในร่างกาย โดยมีความแข็งแรงมากกว่ากระดูก เป็นปวัยวะเดียวที่ไม่มีการเติบโต เพิ่มขนาด หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หลังจากขึ้นมาในช่องปากแล้ว แต่ฟันยังเป็นอวัยวะที่มีชีวิต รับความรู้สึก และเจ็บปวดได้ ถ้ามีการสึกกร่อน หรือทำลายชองเนื้อฟันลง ฟัน ... มีความสำคัญต่อชีวิต ตั้งแต่เป็นฟันน้ำนม ที่เริ่มขึ้นในวัยเด็ก จวบจนเป็นฟันแท้ที่จะอยู่กับเราไปจนกระทั่งถึงวัยชรา ถ้าหากเราเอาใจใส่ดูแล รักษาความสะอาด ด้วยการแปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟันอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อฟัน หลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นโทษกับฟัน เช่น ขนมหวานเหนียวติดฟัน น้ำอัดลม เป็นต้น และที่สำคัญคือ ต้องใช้ฟันให้ถูกหน้าที่ คือ ฟันมีหน้าที่บดเคี้ยวอาหาร ช่วยในการออกเสียง และช่วยสร้างรอยยิ้มที่ประทับใจ และควรหาเวลาไปพบทันตแพทย์ เพื่อการบูรณะ และป้องกันความผิดปกติปีละครั้ง เพียงเท่านี้ เราก็จะมีสุขภาพฟันที่ดี |
โครงสร้างของฟัน |
แม้ว่าฟันจะมีรูปร่างและหน้าที่ต่างกัน แต่ส่วนประกอบในโครงสร้างของฟันแต่ละซี่ จะเหมือนกัน คือ ลักษณะภายนอกของฟัน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ - ตัวฟัน ... เป็นส่วนที่ขึ้นอยู่ในช่องปาก ส่วนที่โผล่พ้นเหงือก มองเห็นในช่องปาก
- รากฟัน ... เป็นส่วนที่ฝังอยู่ภายใต้เหงือก และกระดูกขากรรไกร มีเหงือกหุ้มทับ
ลักษณะภายใน ... ถ้าผ่าฟันทั้งซี่ออกตามแนวยาว จะพบว่า ฟันไม่ได้เป็นแท่งตันหมด แต่จะแบ่งเป็นชั้นๆ ประกอบด้วย - ชั้นเคลือบฟัน ... สีขาวใส เป็นชั้นที่อยู่นอกสุด จะหุ้มตัวฟัน เป็นส่วนที่แข็งที่สุด เพราะต้องทนต่อการสัมผัสกับอาหาร และความเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ภายในช่องปากตลอดเวลา
- ชั้นเคลือบรากฟัน ... สีเหลือง แข็งแรงน้อยกว่าเคลือบฟัน คลุมเนื้อฟันเฉพาะส่วนรากฟัน
- เนื้อฟัน ... จะอยู่ถัดเข้ามา มีสีครีม ค่อนข้างเหลือง มีช่องทางติดต่อรับความรู้สึก จากปลายประสาทชั้นในสุดได้
- โพรงประสาทฟัน ... เป็นโพรงตรงกลาง เป็นแกนกลาง คล้ายไส้ดินสอ เป็นที่อยู่ของเนื้อเยื่อเส้นประสาท เส้นเลือด ท่อน้ำเหลือง และเซลที่จะสร้างเนื้อฟัน เส้นเลือดและเส้นประสาท จะแยกจากแขนงใหญ่ เข้ามาทางรูปเปิดปลายฟัน เป็นจุดสำคัญที่สุดในการรับความรู้สึก และความคงชีวิตของฟัน ดังนั้น ธรรมชาติจึงสร้างฟัน ให้มีความแข็งแรง เพื่อป้องกันชั้นนี้
|
ลักษณะของฟันแต่ละซี่ |
- ฟัน ตัด หรือฟันกัด : จำนวน 8 ซี่ ทางด้านหน้าล่าง 4 ซี่ ด้านบน 4 ซี่ รูปร่างคล้ายลิ่มบาง ทำหน้าที่กัด หรือตัด ช่วยในการออกเสียง และให้ความสวยงาม
- ฟันเขี้ยว : จำนวน 4 ซี่ บน 2 ซี่ ล่าง 2 ซี่ อยู่บริเวณมุมปาก ซ้าย-ขวา ปลายฟันค่อนข้างแหลม เป็นฟันที่แข็งแรงรากยาว ทำหน้าที่ฉีกอาหาร ช้วยรักษารูปทรงของใบหน้า บริเวณมุมปากไม่ให้บุ๋ม
- ฟันกราม : จำนวน 20 ซี่ บน 10 ซี่ ล่าง 10 ซี่ อยู่ถัดฟันเขี้ยวเข้าไปข้างใน แบ่งเป็นฟันกรามน้อย (ซึ่งไม่มีในฟันน้ำนม) 8 ซี่ และฟันกราม 12 ซี่ มีขนาดใหญ่กว่าฟันกลุ่มอื่น รูปร่างเกือบเป็นสี่เหลี่ยม มีหน้าตัด ซึ่งทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหาร
|
อวัยวะปริทันต์ |
- เหงือก : เป็นเนื้อเยื่อที่คลุมบางส่วนของฟัน และกระดูกขากรรไกร ปกติมีสีชมพู หรือคล้ำ ตามสีผิว เนื้อแน่น ขอบบาง แนบไปกับคอฟันพอดี เหงือกที่อยู่ระหว่างซอกฟัน จะเต็มเป็นรูปสามเหลี่ยม ยอดแหลม ขอบเหงือกกับตัวฟัน จะมีร่องโดยรอบ ลึกประมาณ 1-2 มม.
- เนื้อเยื่อปริทันต์ : เป็นเนื้อเยื่อรอบรากฟัน ที่ยืดหยุ่นได้เล็กน้อย ทำหน้าที่ยึดรากฟันให้ติดกับกระดูกเบ้าฟัน และช่วยกระจายแรงบดเคี้ยว ไปยังกระดูกขากรรไกรด้วย
- กระดูกเบ้าฟัน : เป็นส่วนของกระดูกขากรรไกร ที่รากฟันฝังตัวอยู่ มีรูปร่างเว้าไป ตามลักษณะรากฟันแต่ละซี่
|
อวัยวะอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการบดเคี้ยว |
- ลิ้น : มีเล้นเลือด เส้นประสาท เป็นจำนวนมาก ไวต่อการรับสัมผัส มีตุ่มเล็กๆ สำหรับรับรส ช่วยกวาดรวมรวมอาหาร ให้ฟันบดเคี้ยวได้สะดวก และช่วยในการพูดออกเสียงด้วย
- ต่อมน้ำลาย : ต่อมขนาดใหญ่อยู่บริเวณใต้ลิ้น หน้าใบหู และใต้ขากรรไกร ส้วนต่อมเล็กๆ กระจายทั่วไป ในผนังช่องปาก ต่อมน้ำลายจะถูกกระตุ้นให้หลั่งน้ำลาย เฉลี่ยประมาณวันละ 1-2 ลิตร เพื่อช่วยรักษาความชุ่มชื้นแก่อวัยวะในช่องปาก และช่วยผสมผสานอาหารนุ่ม ลื่น พร้อมสำหรับการกลืน
- เยื่อบุช่องปาก : ได้แก่ เนื้อเยื่อบริเวณผนังของกระพุ้งแก้ม ริมฝีปากด้านใน ถ้ามีสภาพสมบูรณ์ จะช่วยให้การทำงานของอวัยวะอื่น ในขณะบดเคี้ยวมีประสิทธิภาพ
|
เรื่องของฟันเขี้ยว |
ฟันเขี้ยว เป็นฟันที่มีความแข็งแรง เพราะมีรากฟัน 1 ราก ที่ยาวและใหญ่กว่าฟันซี่อื่นๆ ตำแหน่งของฟันเขี้ยว จะอยู่ที่บริเวณมุมปาก มีหน้าที่กัดและฉีกอาหาร รวมไปถึงการรักษารูปร่างของใบหน้า ให้มีมุมบริเวณริมฝีปากด้วย คนที่มีฟันเรียงตัวไม่เป็นปกติ หรือที่เรียกว่าฟันเกนั้น อาจจะมีฟันซ้อนที่บริเวณฟันเขี้ยวได้ โดยมีลักษณะฟันมากระจุกอยู่หลายซี่ ทำให้ต้องเน้นการรักษาความสะอาดให้ดี เพราะถ้ามีการหมักหมม ของเศษอาหารเป็นประจำ ก็จะทำให้เกิดฟันผุได้ ถ้าฟันเขี้ยวเสียไป อาจทำให้ต้องถอน ก็จะทำให้ความแข็งแรงของฟัน ลดน้อยลงไปได้ด้วย |
ฟันแท้ซี่แรกในช่องปาก |
ในช่วงเวลาการขึ้นของฟันแท้ซี่แรก จะอยู่ในช่วงอายุประมาณ 6-7 ปี ซึ่งเด็กคงยังไม่สามารถตระหนักถึง การดูแลรักษาความสะอาดด้วยตนเองได้ พ่อแม่ต้องเป็นผู้ปลูกฝัง และพ่อแม่ควรจะมีความรู้ว่า ฟันแท้ซี่แรกที่ควรขึ้นเป็นซี่แรกในช่องปากของลูก ก็คือ ฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 ซึ่งจะมี 4 ซี่ อยู่ที่ 4 ด้านของฟันในขากรรไกร ฟันแท้ซี่แรกซี่นี้ จะขึ้นมาโดยไม่มีการแทนที่ฟันน้ำนม โดยจะขึ้นมาทางด้านหลังของฟันกรามน้ำนม ซี่สุดท้าย โดยถ้าลองนับฟันดู จะนับฟันน้ำนมได้ 20 ซี่ แบ่งเป็นฟัน 10 ซี่ และฟันล่าง 10 ซี่ ฟันส่วนที่เกินไปทางข้างใน ก็คือ ฟันแท้ หรือ ฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 นั่นเอง ฟันแท้ซี่แรกนี้ จะเป็นกรามแท้ที่แข็งแรงที่สุด ขนาดซี่จะใหญ่ที่สุด และมีรากฟันที่แข็งแรง ทำหน้าที่ช่วยในการบดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด เพราะฉะนั้น ควรให้ความสนใจ ดูแลความสะอาดตั้งแต่ลูกยังเล็ก เพราะฟันแท้ขึ้นมานี้จะอยู่กับเราไปตลอดชีวิต |
หน้าที่ของฟันน้ำนม |
ความสำคัญของฟันน้ำนม - ใช้กัด ตัด และบดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด
- ให้ความสวยงาม
- ช่วยออกเสียงให้ชัดเจน ที่นอกเหนือจากฟันแท้ คือ ช่วยให้การเจริญของขากรรไกร เป็นไปอย่างปกติ และกันที่ไว้ให้ฟันแท้ขึ้นมาแทนที่
ผลเสียที่ฟันน้ำนมถูกถอนไป ่ก่อนกำหนด หรือหลุดช้ากว่ากำหนด - ฟันล้มเอียงเข้าหาช่องว่าง ฟันแท้ตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ
- ฟันคู่สบยื่นยาว เกิดการสบฟัน การเคี้ยวผิดปกติ
- ฟันที่เหลือรวนเก แปรงฟันได้ไม่สะอาด เศษอาหารติดฟันง่าย
- พูดไม่ชัด เกิดปมด้อย
- ฟันซ้อนเก
|
ฟันของน้องหนู |
เด็กๆ จะมีฟันขึ้นเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน โดยมีฟันคู่หน้ากลางขึ้นมาก่อน ฟันในวัยเด็กนี้ เรียกว่า ฟันน้ำนม จะมีทั้งหมด 20 ซี่ แบ่งเป็นฟันบน 10 ซี่ และฟันล่าง 10 ซี่ ประกอบด้วยฟันหน้า ฟันเขี้ยว และฟันกราม ฟันน้ำนมจะขึ้นครบ 20 ซี่ เมื่ออายุประมาณ 2 ขวบครึ่ง และจะอยู่ภายในร่างกาย ตลอดไปจนกว่าฟันแท้จะขึ้นมาแทนที่ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องรักษาฟันน้ำนมไว้ สำหรับใช้งานจนกว่าฟันแท้จะขึ้น ฟันน้ำนมของเด็กจะมีขนาดฟันที่เล็กกว่าฟันแท้ เพราะรูปร่าง ขากรรไกร ใบหน้า ของเด็ก ยังเล็ก และจะเจริญเติบโตไปตามวัย ซึ่งเมื่อมีการพัฒนาการของร่างกายที่โตขึ้น พัฒนาการของฟันก็จะโตขึ้นตามมา โดยการมีรูปร่างฟันที่ใหญ่ขึ้นด้วย ทำให้ในเด็กที่มีการพัฒนา ของร่างกายล่าช้า หรือรูปร่างใบหน้าเล็ก อาจทำให้ฟันแท้ซี่ที่จะขึ้นมาดูมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมสภาพช่องปากที่เล็ก ก็จะทำให้การขึ้นของฟันแท้ มีความผิดปกติ เกิดการซ้อนเกของฟันได้ การดูแลรักษาสุขภาพช่องปากที่ดี จึงควรควบคู่ไปกับการรักษาสุขภาพร่างกายที่ดี ด้วยนะคะ และคำนึงถึงหลักโภชนาการ ก็จะทำให้พัฒนาการของร่างกายสมบูรณ์ และแข็งแรง |
ฟันเขี้ยวซาว |
ฟันเขี้ยวซาว เป็นสำนวนการเรียกฟันแท้ของภาคเหนือ หมายถึงฟันที่ขึ้นมา เมื่ออายุประมาณ 20 ปี ซึ่งฟันซี่นี้มักขึ้นมาผิดปกติ ได้แก่ ขึ้นมาไม่ได้บ้าง ขึ้นมาแล้วซ้อนเกบ้าง ขึ้นมาผิดตำแหน่งบ้าง แต่ก็ไม่ได้เป็นกับคนทุกคนนะคะ บางคนก็อาจขึ้นได้อย่างปกติก็ได้ แต่สาเหตุของการขึ้นผิดปกตินั้น มักเกิดจากปัญหาของช่องปาก ที่มีพื้นที่ให้ฟันขึ้นไม่เพียงพอ ขากรรไกรที่เล็ก ตำแหน่งท้ายฟันแคบ ทำให้ฟันซี่ที่ขึ้นมาหลังสุด ก็คือ ฟันกรามแท้ซี่ที่ 3 นี้ ไม่สามารถขึ้นได้อย่างเต็มที่ ตัวฟันเองก็จะหาทางดันตัวเองขึ้นมา ถ้าขึ้นมาได้ ก็อาจเป็นปกติ หรืออาจขึ้นมาซ้อนเก ถ้าขึ้นมาได้ก็อาจขึ้นมาเพียงบางส่วน หรือจมอยู่ในขากกรรไก เพราะขึ้นมาไม่ได้เลย ปกติแล้ว ฟันที่ขึ้นมาคุด หรือซ้อนเก ควรรักษาด้วยการถอนฟันออก เพราะถ้าคงสภาพอยู่ ในช่องปากเช่นนั้นแล้ว ถ้ามีการรักษาความสะอาดได้ไม่ดีพอ ก็อาจเกิดการอักเสบของฟันได้ |
ฟันเกิน |
บางครั้ง คนเราอาจมีฟันเกิน 32 ซี่ ซึ่งมีความเป็นไปได้ และมักเกิดมาจาก กระบวนการสร้างฟันที่ผิดปกติ มีหน่อของฟันเกิน ซึ่งมักเกิดจากมีการรบกวนอวัยวะภายในร่างกาย ขณะที่กำลังมีการสร้างฟัน ลักษณะที่มองเห็นในช่องปาก เช่น อาจมีฟันขึ้นมาตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งฟันนี้ไม่มีความจำเป็นอะไร ถ้ามีปัญหากับสุขภาพเด็ก หรือแม่ เช่น ดูดนมแม่ไม่ได้ ก็อาจถอนออกไปก็ได้ หรือ กรณีฟันมีเกินมาแทรกระหว่างฟันหน้า กรณีนี้จะเกิดความไม่สวยงาม ต้องทำการตรวจสอบดูก่อนว่า ฟันซี่อื่นๆ มีอยู่ครบถ้วนหรือไม่ ถ้ามีครบควรรีบถอนออกทันที เพื่อที่ฟันซี่อื่นๆ จะได้ไปเรียงตัวตามตำแหน่งปกติ ไม่เช่นนั้น อาจต้องทำการรักษาช่วย ด้วยการจัดฟัน |
ที่มา www.dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/happysmile/dentalh/genteeth.html#teeth01
ทำไมฟันหนูจึงผุง่ายจัง
ตอบลบฟันผุเพราะไม่ยอมแปรงฟัน
ตอบลบกินขนมจึงทำให้ฟันผุ
ตอบลบเราควรแปรงฟันวันละ 2ครััง ก่อนหลังอาหาร
ตอบลบเราควรแปรงฟันทุกวัน
ตอบลบเราควรแปรงฟันตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง
ตอบลบเราควรแปรงฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ตอบลบฟันสวยด้วยการแปรงฟัน
ตอบลบเราไม่ควรกินของหวานมากเกินไป
ตอบลบเด็กคุ้งวารี ฟันสวยด้วยตัวเรา
ตอบลบคุ้งวารี ClassiC
เพราะกินขนมแล้วไม่ยอมแปรงฟัน
ตอบลบฟันขาวสวยด้วยมือเรา
ตอบลบเพราะกินลูกอมมากเกินไป
ตอบลบเพราะกินลูกอมก่อนนอนทุกวัน
ตอบลบเพราะไม่รักษาฟันเท่าที่ควร
ตอบลบเพระาชอบอาหารที่มีน้ำตาลมากทุกวัน
ตอบลบเพราะกินของหวานมากเกินไป
ตอบลบเพราะไม่แปรงฟัน
ตอบลบเพราะกินขนมที่มีน้ำตาลมากเกินไปทำให้เกิดฟันผุ
ตอบลบทำไม่น้องฟันผุ
ตอบลบเพราะกินขนมหวาน
ตอบลบเพราะกินอาหารไม่มีประโยชน์
ตอบลบเพราะน้องไม่แปลงฟันถึงฟันผุ
ตอบลบถ้าเรากินอาหารที่มีประโยชน์ฟันของเราก็จะเเข็งเเรงเเละฟันก็จะไม่ผุ
ตอบลบเด็กฉลาด ฟันต้องสวยเเบบคลาสสิค
ตอบลบเราควรแปรงฟันทั้งตอนเช้าและก่อนนอนแล้วก็รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ทุกครั้ง
ตอบลบเราควรแปรงฟันให้ถูกวิธีฟันของเราจะได้สะอาด และควรรับประทานอาหารที่มีประโยชนต่อฟัน
ตอบลบทำไม่ชัชชลฟันเหลือง
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบฟันของเราใช้ในการบดอาหารถ้าเราไม่มีฟันเราจะกินอาหารได้อย่างไรเราจึงควรรักษาฟันให้สะอาด
ตอบลบทำไมไอซ์ถึงฟันเหลือง
ตอบลบเราควรแปลงฟันหลังกินลูกอม
ตอบลบทำไมแก๊บจึงเห็มปาก
ตอบลบรักทามไมฟันขาวจริงเลยฮ่ะ
ตอบลบจากคนเเอบชอบ ให........
ทำไมไอซ์ถึงปากเห็น
ตอบลบเราควรแปรงฟัน
ตอบลบทำไม่ชัชชลฟันเหลือง
ตอบลบทำมัยปอถึงฟันขาวจัง
ตอบลบปิยวัตร ทำมัยเอถึงฟันขาวจัง
ตอบลบบุณรักษ์ ทำมัยเอถึงฟันขาวจัง
ตอบลบสงกาน ทำมัย นพณัฐ ฟันขาวจังเลย
ตอบลบทำไมนัสฟันผุมาก
ตอบลบณัฐวุฒ ทำไมต้องเเปลงฟันดั๊ว
ตอบลบกุลวัต ทำไมต้องเเปลงฟันดั๊ว ขี้เกียดเเปลงจังง
ตอบลบกันยาทำไมฟันขาวจัง
ตอบลบมฑทล ทามมัยต้องเเปรงฟันด้วยคับ ผมไม่อยากเเปรงอ๊คับ
ตอบลบกูลวัฒน์ ไม่แปรงฟัน
ตอบลบสุรศักดิ์ ทามมัยไม่ยอมเเปรงฟัน
ตอบลบเพราะกินอาหารไม่มีประโยชน์
ตอบลบสิชอบกินขนมที่มีน้ำตาลมากเกินไปทำให้เกิดฟันผุ
ตอบลบเพราะกินลูกอมก่อนนอนทุกวัน ....
ตอบลบปอ .เพราะกินลูกอมก่อนนอนทุกวัน ....
ตอบลบณัฐวุฒ ทำไมต้องเเปลงฟันดั๊ว
ตอบลบทำไมกันตาต้องดัดฟัน
ตอบลบเพราะฟันเหยือน
ตอบลบทำไมนพณัฐถึงไม่ดัดฟัน
ตอบลบดัดไม่ได้เพราะฟันเหยือนเกินไปคับ
ตอบลบม.3 เเปรงฟันไม่ถูกวิธี
ตอบลบม.2 ไม่ใส่ใจรักษาฟัน
ตอบลบม.2 ไม่ค่อยรักษาฟันกัน
ตอบลบทำไม่บุณรักษ์ชอบกินลูกอม
ตอบลบนพณัฐ ทำไมชอบกินลูกอมจัง
ตอบลบทำให้ฟันผุนะ
ปอ..ม2 ฟันผุเยอะจัง
ตอบลบเราควรกินอาหารที่มีประโยชน์
ตอบลบทำไม บอย.ม2ไม่ยอมแปรงฟัน
ตอบลบทำไมบุญรักษ์ถึงชอบกินเค้กที่หว๊านหวาน
ตอบลบเพราะขี้เกียจแปรงฟันมากๆๆๆๆๆ
ตอบลบทำไมส้ม ม.3 ไม่ยอมแปรงฟัน
ตอบลบทำไมกันตา ฟันเหลืองมาก!
ตอบลบทำไมปอ ม.3 กินขนมแล้วไม่ยอมแปรงฟัน
ตอบลบสิ ม.2 ก้อม่ายยอมแปรงฟันเหมือนกาน
ตอบลบสิ ม2 ฟันเหลืองมากๆๆ
ตอบลบส้ม ม.3 ปากเหม็นม๊ากมาก
ตอบลบไม่แปลงฟันและกินลูกอม
ตอบลบกินลูกอม
ตอบลบไม่แปรงฟันและกิน
ตอบลบกินมากฝรั่ง
ตอบลบเพราะกินเส็จแล้วไม่แปรงฟัน
ตอบลบกินขนมที่มีน้ำตาล
ตอบลบกินลูกอมมากเกินเหตุแล้วไม่แปรงฟัน
ตอบลบกินน้ำอัดลม
ตอบลบกินขนมที่มีน้ำตาลมาก
ตอบลบม.2
ตอบลบทำไมทุกคนไม่ชอบเเปรงฟน
ม.2
ตอบลบอย่ากให้ทุกคนหันมาแปรงฟัน
ม.2
ตอบลบกินขนมที่มีน้ำตาลมาก
ทำไมโต้ถึงฟันเหม็น
ตอบลบทำไมฟันเหลืองจังว่ะ
ตอบลบทำไมน้องมิ้นถ฿งฟันขาว
ตอบลบทำไมฟันเหลืองจังว่ะ
ตอบลบทำไมโต้ถึงฟันเหม็น
ฟางทำไมฟันเหลือง
ตอบลบม.2
ตอบลบทำไมx-shot ถึงแจกของเยอะจัง
ทำไมโต้ถึงฟันเหม็น
ตอบลบทำไมน้องถึงฟันเหลือง
ตอบลบทำไมฟันถึงเหม็น ถึงเหลือง ถึงผุ ถึงดำ ถึงX-SHOT
ตอบลบแจกของ ถึงX-SHOT4 DOT A ADAY SF
ไม่แปรงฟันและกิน
ตอบลบทำไมเราต้องแปรงฟันหลังกินข้าวทุกครั้ง จาก เด็กโรงเรียนวัดไผ่ล้อม
ตอบลบถ้าไม่แปรงฟันจะเกิดโรคได้กี่โรคค่ะ
ตอบลบถ้าแปรงฟันแล้วฟันจะสวยหรือไม่ จากเด็กไผ่ล้อมคนสวย
ตอบลบไม่แปรงฟันแล้วฟันจะสวยหรือไม่ จากเด็กไผ่ล้อม
ตอบลบถ้าไม่แปรงฟันแล้วเราจะยิ้มสวยหรือไม่
ตอบลบถ้าฟันผุจะยิ้มไม่สวยจริงหรือไม่ จากสาวน้อย
ตอบลบคนมีฟันซ้อนจะสวยหรือไม่ จากเด็กไผ่ล้อม
ตอบลบถ้าฟันสวยจะยิ้มสวยจริงหรือไม่ จากสาวสวย วังไม้ขอน
ตอบลบจิ๊บไผ่ล้อมฟันขาวสวยมาก จากเด็กไผ่ล้อม
ตอบลบเพื่อนของฉันและฉันฟันสวยมาก
ตอบลบจาก เด็กไผ่ล้อม ที่โดนทิ้ง
ฟันของเพื่อนฉันสวยมากเพราะแปรงฟันอย่างถูกวิธี
ตอบลบจาก ด.ญ.วรรณภา ลิ้นจี่ขาว
ได้รับความรู้ดีมากค่ะ จาก ด.ญ.นฤมล นาคประเสริฐ เด็กไผ่ล้อม
ตอบลบฟันของฉันขึ้นซ้อนจะทำอย่างไร
ตอบลบจาก คนโดนทิ้ง
ข้าพเจ้าแปรงฟันถูกวิธีทำให้ฟันสวยมากเลย จาก ด.ญ. ปวีณา พ้นเวร เด็กไผ่ล้อม
ตอบลบฟันของหนูสวยมากเพราะแปรงฟันถูกวิธี จาก ด.ญ.จารุวรรณ คำโภ
ตอบลบจิ๊บเด็กไผ่ล้อมฟันสวย
ตอบลบทำไมต้องฟันเหยินด้วย
ตอบลบขอบคุณที่ให้ความรู้นะค่ะ......จากด.ญ.ปวีณา แก้วหาวงศ์
ตอบลบโรงเรียนวัดไผ่ล้อม
ขอขอบคุณค่ะ ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับฟันมากมายทั้งเรื่องเกี่ยวกับ
ตอบลบฟันของเรา โครงสร้างของฟัน ฯลฯ
ดีใจที่ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นค่ะ.....จากด.ญ. มีนา ขันแก้ว
ตอบลบร.ร. วัดไผ่ล้อม
ดีใจมากค่ะที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องฟัน
ตอบลบด.ญ.อรพินท์ เอนอิง